Русские видео

Сейчас в тренде

Иностранные видео


Скачать с ютуб โซลิดสเตตรีเลย์ DC ทำงานอย่างไร ? (ไม่ใช่หมอก็ผ่าาาได้) в хорошем качестве

โซลิดสเตตรีเลย์ DC ทำงานอย่างไร ? (ไม่ใช่หมอก็ผ่าาาได้) 1 год назад


Если кнопки скачивания не загрузились НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru



โซลิดสเตตรีเลย์ DC ทำงานอย่างไร ? (ไม่ใช่หมอก็ผ่าาาได้)

📌 พิกัด SSR DC-DC 40A Lazada 👉 https://s.lazada.co.th/l.1MOo Shopee👉 https://shope.ee/2VJX25ktFY สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimZimDIY หากพูดถึงอุปกรณ์ ตัวหนึ่ง ที่ คอย ตัด ต่อ วงจรไฟฟ้า หลายๆ ท่านก็คงจะนึกถึง รีเลย์ เป็นตัวเลือกแรกๆ ใช่ไหมครับ แต่รีเลย์ ทั่วไป ที่มี หน้าสัมผัสเป็นแมคคานิค บางครั้งก็อาจจะไม่เหมาะ กับงานบางงาน อย่างเช่น โหลดที่ กินกระแสหนักๆ และ ต้องการ การตัดต่อ วงจรบ่อยๆ ตัดต่อ วงจรถี่ๆ อย่างเช่นพวก ปั้มน้ำ , วาล์น้ำ , ขดลวดความร้อน เนื่องจากว่าตัวมัน เป็นอุปกรณ์กลไกล เมื่อใช้ไปนานๆ บริเวณหน้าสัมผัส อาจจะมีรอยอาร์ก รอยไหม้ หรือ ค้างติดกันไปเลยก็มีครับ สังเกตุง่ายๆ ตัวไหนเป็น Relay แบบ ธรรมดา ก็คือ มันก็จะมีเสียง ตัดต่อวงจร เปาะแป๊ะๆ ในระหว่างการทำงานด้วย ก็ถือว่าเป็นรีเลย์ ที่นิยมใช้ กันมา อย่างเนิ่นนานมากแล้ว ในวันนี้ ผมจะมาพูดถึง รีเลย์ อีก ชนิดหนึ่ง เป็นรีเลย์ ประเภท อิเล็กทรอกนิกส์ มีการตัดต่อวงจรที่ เหนือกว่า เร็วกว่า , เสียงเงียบกว่า เขาจะเรียกว่าเป็น Solid - state Relays หรือตัวย่อของมันก็คือ (SSR) ซึ่ง SSR ที่มีขายในปัจจุบัน มีหลากหลาย ขนาด หลากหลาย รูปแบบ บางตัวก็มี ขาเยอะ ก็ขึ้นอยู่กับ ผู้ผลิต ผู้ใช้ และ SSR ก็ยังแบ่งได้ อีก 2 แบบ นั้นก็คือ ควบคุมไฟ DC และ ควบคุมไฟ AC สำหรับคลิปวิดีโอนี้ ผมจะขอพูดถึง SSR ที่เป็นแบบ DC ควบคุมไฟ DC กันก่อนละกันนะครับ ตัวนี้เป็น Sigle Phase หรือ ว่าต่อใช้ไฟ เพียงเฟสเดียว Input ใช้ไฟ กระแสตรง ควบคุม สามารถรับได้ ค่อนข้างกว้าง ตั้งแต่ 3V - 32V เลย สำหรับอีกด้านหนึ่งผมขอเรียกว่า Output นะครับ Output ในสถาวะปกติที่ไม่มี ไฟ Input เข้ามาเลี้ยง สวิตจะ จากกัน นะครับ ทำให้ไม่มี ไฟฟ้าผ่าน แต่ถ้าผม ป้อนไฟให้มัน สวิตมันจะต่อกันและก็มีไฟ LED สีแดง แสดงออกมา ยกตัวอย่าง นี่ครับ ถ้าผม มีแหล่งจ่ายมาต่อ Output ในสภาวะปกติ จะไม่มีไฟไหลผ่าน แต่ถ้าผม ป้อนไฟที่ input ไฟก็จะไหลผ่านไปได้ อย่างง่ายดาย เรา จะใช้เป็นแหล่งจ่ายไฟเดียวกัน หรือ จะใช้ไฟ คนละ แหล่งจ่ายก็แล้วแต่ ผมทดลอง ต่อกับเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว นี่ครับ มะนก็ ทำงานใช้ได้เลยครับ ตัวนี้เป็นรุ่น 40A เพราะฉะนั้นโหลดที่กิน กระแส 3.5A มันก็เลยทำงานได้ค่อนข้างดี ไม่มีปัญหา จับดูก็ไม่มีความร้อน มีเพื่อนๆ หลายท่าน ซื้อ SSR มาใช้ แล้ว เคยโดนยัดไส้ อย่างเช่น เนมเพจ บอกทนกระแสได้สูง เป็น 100A แต่ยัดมอสเฟส เบอร์เล็ก ตัวเล็กๆ 30A เข้าไป ทำให้ใช้ไป แปบเดียว เด๊่ยวก็ ร้อน เดี๋ยวก็ขาด บางท่าน โครงที่เป็นพลาสติกผิดรูปไปเลยก็มีครับ เพราะฉะนั้น ผมก็ เกิด สังหรใจ เหมือนกันครับ ว่า SSR ตัวนี้ จริงๆแล้ว ภายใน มันจะเป็นยังไง มันจะยัดไส้มาหรือเปล่า เอาเป็นว่า คลิปนี้ เดี๋ยวผมจะรื้อให้เพื่อนๆ ดูวงจร ข้างใน ไปพร้อมๆกัน ครับ แต่ ไม่ชัวร์ นะครับ ว่า จะประกอบอย่างเดิม ให้เหมือนเดิมได้หรือเปล่า สโลแกนของผม ก็คือ งานซ่อม นี่ไม่ถนัด แต่งงาน งัดนี่สู้ตายครับ นี่ครับ แกะ ฝาหน้าออกมา ก็จะเจอกับ แผ่นยาง หรือ แผ่นเรซิ่นอะไรสักอย่าง เป็นยางสีดำๆ เคลือบไว้ แล้วก็มี น๊อตยึด น่าจะเป็นน๊อต ตัวยึด มอตเฟส ครับ แล้วก็มี อุปกรณ์ สีเหลืองๆ คล้ายๆหม้อแปลง เขาใสมาทำไม ? และก็หลอด LED นี่ครับประมาณ นี้ นี่ไงครับ ผมทำฝามันพังไปแล้ว เดี่ยวผมต้องคลาย น๊อต ออกมาก่อน โอ้โห มันค่อนข้างแน่น เสียจริง เลยครับ ฝืนต่อไม่น่าจะไหว ไม่หัวน๊อต ก็หัวไขควง นั้นและครับ ที่จะรู๊ด ใช้ เปลี่ยนเป็น หัวไขควงแบน ยิงละกันครับ ทีนี้ออกมาง่ายเลยครับ หลังจากนั้น ผมก็งง กับชีวิต ไม่รู้ จะแกะ ต่อ ยัไง หลังจาก ใช้เวลาสักพัก สังเกตุ อุปกรณ์ โดยรอบๆแล้ว ผมก็ใช้ค้อน ทุบไป สัก 10 - 20 ที มันก็ไม่ออก มัน แน่นมากๆ ก็เลย ทราบว่า ความรุนแรง ไม่ได้ แก้ไข ได้ทุกปัญหา ผมแค่ แง๊ะฝาล่างออกมาแบบนี้ครับ นี่มันก็จะหลุด ออกจากกัน ได้ง่ายๆ เลยครับ รู้สึกว่าจะเป็น แผ่นระบายความร้อน ให้กับมอสเฟตครับ นี่ครับ มันมี แผ่น ซิลิโคน ติดอยู่ ด้วย ต่อไปก็คือ เราจะแง๊ะ ไอ้ยางดำๆ นี่ออก เพราะเราอยากจะ เห็นลายวงจร ข้างล่างนี่ ใช่ไหมครับ ลักษณะของมันก็คือ จะเป็นยางแบบ นิ่มๆ สามารถ บิดโค้งงอ ได้ แต่ก็ มีความ หนืดความ แข็ง พอประมาณ ใช้คีมบิดก็หลุดรุ่ยได้เหมือนกัน ผมก็จะค่อยเล็มๆ ค่อยเอาออกแบบนี้ ทีละหน่อยๆ แต่ต้องระวังแผ่นซิโคน... เสียหายด้วย นะครับ ผมจะเอาออกไปเก็บไว้ก่อนครับ เดี่ยวมันขาดแล้วก็จะยุ่ง งานไม่ได้หนักหรอกครับ แต่ จะใช้เวลาใช้การแกะ นิดหนึ่ง ก็จะเจอเจอกับมอสเฟต ให้มา ถือว่า งานดี ตัวค่อนข้างใหญ่ เลย เดี่ยวผมของัดดูเบอร์ มอตเฟต นิดหนึ่ง ตัวนี้ก็จะเป็นเบอร์ 5N3011 เป็นมอสเฟต ประเภท N Chanel กระแสวิ่งได้สูงถึง 80A และ ก็แรงดันสูงถึง 300V ก็ถือว่าเค้าใช้มอสเฟต เนียะ เผื่อสเปกมา เรียบร้อยแล้ว ผมขอแกะต่ออีกนิดหนึ่งครับ นี่ครับมันก็จะหลุด ออกจากโครง หลังจากนั้น ผมก็จะถอดมอสเฟส ออกไปก่อน เพื่อความสะดวก แล้วจะ ไล่เช็ค วงจรการทำงานของมันคร่าวๆดูนะครับ หลักการทำงานของมัน ก็คือ มีทรานซิสเตอร์ตัว เล็กๆ ตัวหนึ่ง คอย สวิตไฟไปที่ หม้อแปลง ขดที่1 กับ ขดที่ 2 ก็จะสลับกันทำงาน เมื่อสลับการทำงานบ่อยๆ มันก็เลยมี ความถี่เกิดขึ่้น หลังจากนั้น ก็จะได้ไฟ ออกมา ขดที่ 3 ซึ่งจะเป็นไฟ AC อยู่นะครับ ไฟ AC ก็จะถูก เรกดิฟายด้วย ไดโอดความถี่สูง นี่ครับ ผมป้อนไฟ 3V ก็จะได้ไฟ output ออกมาถึง 5.5 V เลยทีเดียว ถ้าหากผมเพิ่มไปเป็น 12V แรงดันมันก็จะเพิ่มขึ้นไปอีกครับ แต่ แรงดัน มันจะถูก กำจัด ด้วยซีเนอร์ไดโอด บริเวณนี้ ทำให้แรงดัน ออกมาให้ตายยังไง ก็ไม่เกิน 15V ครับ ถึงแม้ว่าผมจะเพิ่มแรงดัน Input จาก 12V เป็น 18V แล้วก็ตามครับ แรงดันที่ได้ ที่จะไปไบอัสขา Gate มอสเฟส จะออกมาเพียง 14.7 V แค่นั้นเอง สำหรับคลิปนี้ ผมขออธิบาย หลักการทำงาน ของมันไว้เท่านี้ก่อน ขอบคุณเพื่อนๆทุกท่านที่ติดตามรับชมครับ

Comments